ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.66 ชั่วโมง /สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี จำนวน 6.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาหุ่นยนต์เบื้องต้น ม.4 จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.5 จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.67 ชั่วโมง /สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี จำนวน 6.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาหุ่นยนต์เบื้องต้น ม.5 จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.5 จำนวน 6.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ประเด็นท้าทายเรื่อง การแก้ไขปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยี โดยใช้บทเรียนบทเรียนออนไลน์
เป้าหมายเชิงปริมาณ
ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริมและพัฒนาปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้น ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของผู้เรียนทั้งหมด
เป้าหมายคุณภาพ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนออนไลน์
มีการจัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ปีการศึกษา 2566
ปีการศึกษา 2567
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี
จัดทำคำอธิบายรายวิชา และจัดทำโครงสร้างรายวิชามีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และสามารถ
นำไปปฏิบัติจริง
สรุปการจัดการเรียนการสอน
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี จัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสอนออนไลน์ เพื่อกระตุ้น ให้ผู้เรียนมีความสนใจ
บรรยากาศการใช้สื่อ
ในการจัดการเรียนรู้
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC ด้วยความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร สร้างนวัตกรรมจากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งภายในและนอกสถานศึกษา ทั้งในรูปแบบเครือข่ายทางวิชาการ หรือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์